เป็น ธรรมดาที่สรรพสิ่งในโลกเกิดมาต้องแก่ต้องเจ็บ ต้องตายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้สุนัขก็เหมือนกันมักจะมีโรคภัยไข้เจ็บให้ต้อง ล้มตายอยู่เสมอ ยิ่งสุนัขตัว เล็กๆที่ยังเป็น ลูกสุนัขอยู่ยิ่งมีโรคภัยไข้เจ็บจ้องที่จะทำลายชีวิตมากมาย หลายชนิดเป็นลูกสุนัขอยู่ยิ่งมีโรคภัยไข้เจ็บจ้องที่จะทำลายชีวิตมากมายหลชนิด ดังนั้นเจ้าของสุนัขควรจะต้อองมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพของสุนัขเป็นพื้นฐาน ดังนี้
- ลูกสุนัขเกิดใหม่จะมีอุณหภูมิร่างการค่อนข้างต่ำ
จึงควรกกไฟเพื่อเพิ่มความร้อนให้แก่ร่างกาย
- ให้ลูกสุนัขได้รับน้ำนมเหลืองจากแม่ภายใน 24 ชั่วโมง
- สังเกตอยู่เสมอว่าแม่สุนัขมีน้ำนมให้ลูก
- สุนัขจะเริ่มลืมตาหรือได้ยินเสียงต่างๆ เมื่ออายุประมาณ 2 สัปดาห์
- หากลูกสุนัขไม่ดูดนมแม่หรือแม่มีน้ำนมไม่พอควรให้นมผงสำหรับสุนัขโดยใช้ syringe ค่อยๆหยอดเข้าปาก ไม่ควรให้นมโคลูกสุนัข เพราะจะทำให้ท้องเสีย
- ปริมาณแคลลอรี่ที่ลูกสุนัขต้องการคือ 22-26 Rcal/100 gm. ของน้ำหนักตัว
- ในช่วงอายุ 2-3 สัปดาห์ น้ำหนักควรเพิ่ม 10-15 % ต่อวัน
2. การดูแลสุนัขช่วงวัยเด็ก
วัยเจริญพันธุ์- ให้ลูกสุนัขได้รับน้ำนมเหลืองจากแม่ภายใน 24 ชั่วโมง
- สังเกตอยู่เสมอว่าแม่สุนัขมีน้ำนมให้ลูก
- สุนัขจะเริ่มลืมตาหรือได้ยินเสียงต่างๆ เมื่ออายุประมาณ 2 สัปดาห์
- หากลูกสุนัขไม่ดูดนมแม่หรือแม่มีน้ำนมไม่พอควรให้นมผงสำหรับสุนัขโดยใช้ syringe ค่อยๆหยอดเข้าปาก ไม่ควรให้นมโคลูกสุนัข เพราะจะทำให้ท้องเสีย
- ปริมาณแคลลอรี่ที่ลูกสุนัขต้องการคือ 22-26 Rcal/100 gm. ของน้ำหนักตัว
- ในช่วงอายุ 2-3 สัปดาห์ น้ำหนักควรเพิ่ม 10-15 % ต่อวัน
ลูกสุนัข |
การดูแลผิวหนังและขน
สุนัขวัยเจริญพันธุ์ |
- ผิวหนังไม่หยาบแห้ง ไม่มีรังแคและปรสิตภายนอก
- สุนัขที่มีความผิดปรกติที่ผิวหนังจะมีอาการคัน ขนร่วงบางตำแหน่ง หรือร่วงเป็นบริเวณกว้าง ผิวหนังเป็นตุ่มหนองหรือเป็นผื่นแดง
- สุนัขที่มีหูปรกควรเช็ดหูอย่างสม่ำเสมอ
- สุนัขที่มีขนสั้นหรือเรียบติดผิวหนัง ควรแปรงขนสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง
- สุนัขที่มีขนยาว ควรแปรงขน 1-2 วัน/ครั้ง และควรเล็มขนที่เท้า นิ้วเท้า และหูออกอย่างสม่ำเสมอ
- ขนที่ยาวเหนือตาควรเล็มออก หรือรวบด้วยริบบิ้นหรือโบว์
- สุนัขที่มีขนสั้นหรือเรียบติดผิวหนัง ควรแปรงขนสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง
- สุนัขที่มีขนยาว ควรแปรงขน 1-2 วัน/ครั้ง และควรเล็มขนที่เท้า นิ้วเท้า และหูออกอย่างสม่ำเสมอ
- ขนที่ยาวเหนือตาควรเล็มออก หรือรวบด้วยริบบิ้นหรือโบว์
3. การดูแลสุนัขชรา
ลักษณะของสุนัขชรา
- มีขนหงอกสีขาวแซมมากขึ้น ฟันหลุด ประสาทสัมผัสและการตอบสนองช้าลง
- ขนหลุดร่วง และแห้งลง
- กล้ามเนื้อลีบลงและไม่แข็งแรง
- น้ำในข้อต่อลดลง ทำให้ข้ออักเสบและเคลื่อนไหวลำบาก
- ดวงตาขุ่นมัว
- ควรจำกัดอาหารที่มีไขมันสูง เช่น เครื่องในสัตว์
- ควรจำกัดอาหารที่มีปริมาณเกลือแร่มาก เช่น กระดูกไก่ , การเพิ่มซอสปรุงรสในอาหาร เป็นต้น
- ให้อาหารที่ย่อยง่าย เช่น ข้าวต้ม หมูสับ เป็นต้น
- เลือกอาหารสำเร็จรูปสูตรสำหรับสุนัขชราโดยเฉพาะ
- ควรเช็ดขี้ตาและขี้หูอยู่อย่างสม่ำเสมอ
- หากไม่มีโอกาสพาสุนัขออกกำลังกายควรช่วยนวดกล้ามเนื้อ และขยับข้อต่อโดยการพับขางอขึ้นลง
- มีขนหงอกสีขาวแซมมากขึ้น ฟันหลุด ประสาทสัมผัสและการตอบสนองช้าลง
- ขนหลุดร่วง และแห้งลง
- กล้ามเนื้อลีบลงและไม่แข็งแรง
- น้ำในข้อต่อลดลง ทำให้ข้ออักเสบและเคลื่อนไหวลำบาก
- ดวงตาขุ่นมัว
- ควรจำกัดอาหารที่มีไขมันสูง เช่น เครื่องในสัตว์
- ควรจำกัดอาหารที่มีปริมาณเกลือแร่มาก เช่น กระดูกไก่ , การเพิ่มซอสปรุงรสในอาหาร เป็นต้น
- ให้อาหารที่ย่อยง่าย เช่น ข้าวต้ม หมูสับ เป็นต้น
- เลือกอาหารสำเร็จรูปสูตรสำหรับสุนัขชราโดยเฉพาะ
- ควรเช็ดขี้ตาและขี้หูอยู่อย่างสม่ำเสมอ
- หากไม่มีโอกาสพาสุนัขออกกำลังกายควรช่วยนวดกล้ามเนื้อ และขยับข้อต่อโดยการพับขางอขึ้นลง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น